การอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
หลักสูตรการฝึกอบรมผู้ช่วยเหลือ
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวะอนามัยและสภาพในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ.2564
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 11 มีนาคม 2564 มีผลบังคับใช้ วันที่ 11 เมษายน 2564
รายละเอียดเนื้อหา/หลักสูตร
ภาคทฤษฎี
- กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
- ความหมาย ชนิด ประเภทของที่อับอากาศและอันตรายที่อับอากาศ
- การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตรายประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ
- วิธีปฏิบัติงานในที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย
- การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศและอุปกรณ์ช่วยเหลือ ในที่อับอากาศ
- ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาตทำงานในที่อับอากาศ และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย
- บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและ ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ และการสื่อสารระหว่างผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและ ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ
- อันตรายที่อาจได้รับในกรณีฉุกเฉินและวิธีการหลีกหนีภัย
- การช่วยเหลือและช่วยชีวิต
- การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ที่หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น (CPR)
ภาคปฎิบัติ
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ
- การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ
- การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิตในที่อับอากาศ
- การช่วยเหลือช่วยชีวิต
- การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องตน และการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ที่หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น (CPR)
- สถานการณ์การปฏิบัติงานในที่อับอากาศในสภาพปกติ และกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน
คุณสมบัติผู้เข้าอบรม
- ผู้เข้าอบรมต้องอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี บริบูรณ์
- มีใบรับรองแพทย์ (ต้องไม่เกิน 6 เดือน ซึ่งนับวันที่ตรวจสุขภาพจนถึงวันที่ ฝึกอบรม โดยแพทย์ลงความเห็นว่าสามารถทำงานในที่อับอากาศได้โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ)
เอกสารประกอบการสมัคร
กรุณานำหลักฐานการสมัครมายื่นที่หน้างาน ณ วันอบรมวันแรก ดังนี้
- สำเนาบัตรประชาชน
- สำเนาวุฒิบัตรการอบรมหลักสูตรดับเพลิงขั้นต้น (เป็นรายบุคคลที่ออกโดยหน่วยฝึกที่ราชการรับรอง)
- มีใบรับรองแพทย์ (ต้องไม่เกิน 6 เดือน ซึ่งนับวันที่ตรวจสุขภาพจนถึงวันที่ ฝึกอบรม โดยแพทย์ลงความเห็นว่าสามารถทำงานในที่อับอากาศได้โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ)
กำหนดการฝึกอบรม
ระยะเวลาในการฝึกอบรม 18 ชั่วโมง ประกอบด้วยภาคทฤษฎี 12 ชั่วโมง และปฎิบัติ 6 ชั่วโมง
วันที่ 1
เวลา | กำหนดการ | ระยะเวลา (นาที) | |||||||||||||
08.00-09.00 | ลงทะเบียนเข้าอบรม | ||||||||||||||
09.00-12.00 | อบรมภาคทฤษฎี | ||||||||||||||
1.กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ | 60 | ||||||||||||||
2.ความหมาย ชนิด ประเภทของที่อับอากาศและอันตรายที่อับอากาศ | 60 | ||||||||||||||
3.การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตรายประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ | 60 | ||||||||||||||
12.00-13.00 | พักเบรครับประทานอาหาร | ||||||||||||||
13.00-16.00 | อบรมภาคทฤษฎี(ต่อ) | ||||||||||||||
4.วิธีปฏิบัติงานในที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย | 60 | ||||||||||||||
5.การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศและอุปกรณ์ช่วยเหลือ ในที่อับอากาศ | 60 | ||||||||||||||
6. ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาตทำงานในที่อับอากาศ และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย | 30 | ||||||||||||||
7.บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและ ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ และการสื่อสารระหว่างผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและ ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ | 30 |
วันที่ 2
เวลา | กำหนดการ | ระยะเวลา (นาที) | |||||||||||||
08.00-09.00 | ลงทะเบียนเข้าอบรม | ||||||||||||||
09.00-12.00 | อบรมภาคทฤษฎี | ||||||||||||||
8.เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ | 60 | ||||||||||||||
9.เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ | 60 | ||||||||||||||
10. อันตรายที่อาจได้รับในกรณีฉุกเฉินและวิธีการหลีกหนีภัย | 60 | ||||||||||||||
12.00-13.00 | พักเบรครับประทานอาหาร | ||||||||||||||
13.00-16.00 | อบรมภาคภาคปฎิบัติ | ||||||||||||||
11.การช่วยเหลือและช่วยชีวิต | 60 | ||||||||||||||
12.การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ที่หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น (CPR) | 120 |
วันที่ 3
เวลา | กำหนดการ | ระยะเวลา (นาที) | |||||||||||||
08.00-09.00 | ลงทะเบียนเข้าอบรม | ||||||||||||||
09.00-12.00 | อบรมภาคภาคปฎิบัติ | ||||||||||||||
1. เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ | 60 | ||||||||||||||
2. เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ | 60 | ||||||||||||||
3.การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ | 30 | ||||||||||||||
4. การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิตในที่อับอากาศ | 30 | ||||||||||||||
12.00-13.00 | พักเบรครับประทานอาหาร | ||||||||||||||
13.00-16.00 | อบรมภาคภาคปฎิบัติ | ||||||||||||||
5. การช่วยเหลือช่วยชีวิต | 60 | ||||||||||||||
6. การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องตน และการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ที่หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น (CPR) | 60 | ||||||||||||||
7. สถานการณ์การปฏิบัติงานในที่อับอากาศในสภาพปกติ และกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน | 60 | ||||||||||||||
16.00-16.30 | ทำแบบทดสอบหลังการอบรม | ||||||||||||||
ประกาศผลการอบรม | |||||||||||||||
มอบวุฒิบัติให้กับผูผ่านการอบรม |
หมายเหตุ
- ผู้เข้าอบรมจะต้องมีเวลาเรียนครบ 100% ของเวลาการอบรมทั้งหมด
- ผู้เข้ารับการอบรมที่จะได้รับวุฒิบัตร จะต้องมีคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
- สำหรับผู้ไม่ผ่าเกณฑ์ จะได้ทำการทดสอบภาคทฤษฎีและภคปฎิบัติซ้ำในระหว่างที่ทำการทดสอบในหลักสูตร
- พักรับประทานอาหารว่าง เวลา 10.00-10.15 น. และ 15.00-15.15 น.